วันศุกร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2562

Kahoot! ตัวอย่างเกมที่นิยมนำมาใช้ในห้องเรียน


Kahoot! คือแอปพลิเคชันที่สาหรับสร้างคำถามและตอบคำถาม
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน :

1.การสร้างคำถาม
     1.1 การสร้างคำถามสามารถเข้าใช้ผ่านทาง https://getkahoot.com เมื่อเข้าสู่เว็บไซต์แล้วให้ทำการสมัคร            โดยกดที่ปุ่ม Sign Up For Free
     1.2 โดยการสมัครจะให้ทำการเลือกหน้าที่โดยแบ่งเป็น อาจารย์ นักเรียน นักธุรกิจ เป็นต้น
     1.3 จากนั้นจะมีช่องว่างให้กรอกข้อมูล สถานที่ทำงาน โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย
            1.3.1 ชื่อผู้ใช้
            1.3.2 อีเมล์และยืนยันอีเมล์
            1.3.3 รหัสผ่าน
            1.3.4 Password
     1.4 เมื่อเข้าสู่ระบบแล้ว จะปรากฏหน้าจอในการสร้างคำถาม โดยแยกรูปแบบของคำถามออกเป็น 3 รูปแบบ
            1.4.1 คำถามหลายตัวเลือก (Quiz)
            1.4.2 แบบสอบถามความคิดเห็น (Discussion)
            1.4.3 แบบสำรวจ (Survey)
     1.5 เมื่อทำการเลือกรูปแบบคำถามที่ต้องการแล้ว จะปรากฏหน้ากรอกข้อมูลรายละเอียดหัวข้อของคำถาม         โดยแบ่งเป็น
            1.5.1 ชื่อหัวข้อของคำถาม
            1.5.2 คำอธิบายคาถาม
            1.5.3 รูปภาพหรือวีดีโอปกของคำถาม
            1.5.4 ตัวเลือกผู้ที่สามารถมองเห็นคำถาม (เห็นทุกคน/เห็นคนเดียว)
            1.5.5 ภาษา
            1.5.6 ประเภทของกลุ่มผู้เข้าร่วม
            1.5.7 เครดิตที่มาของเนื้อหา
            1.5.8 วีดีโอแนะนำ
โดยเมื่อกรอกข้อมูลเรียบร้อยแล้วให้กดที่ปุ่ม Ok, go

     1.6 เมื่อสร้างหัวข้อของคำถามแล้วจะปรากฏหน้าสาหรับเพิ่มคำถาม โดยจะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
            1.6.1 รูปภาพ ชื่อหัวข้อ คำอธิบาย ซึ่งสามารถแก้ไขได้
            1.6.2 ส่วนสร้างคำถามโดยกดที่ปุ่ม Add Question
     1.7 การสร้างคำถามจะมีเมนูต่าง ๆ ปรากฏบนหน้าจอดังนี้
            1.7.1 ตั้งชื่อคำถาม เลือกเวลาในการตอบและเปิด/ปิดการนับคะแนนในข้อนั้นๆ
            1.7.2. ใส่รูปภาพหรือวีดีโอที่ใช้ประกอบคาถาม โดยสามารถอัพโหลด
            1.7.3. ตัวเลือกคาตอบ โดยจาเป็นต้องใส่อย่างน้อย 2 ตัวเลือก และเลือกว่าจะให้คำตอบใดเป็นคำตอบ            ที่ถูกต้องโดยกดที่ปุ่มเครื่องหมายถูก

2.เมื่อสร้างชุดคำถามเรียบร้อยแล้วสามารถกดเริ่มการใช้งานได้โดยเข้าที่หน้า My Kahoots จากนั้นกดที่ปุ่ม PLAY เพื่อเริ่มการใช้งาน โดยจะปรากฏหน้าต่างเริ่มเกม โดยแบ่งเป็นแบบ 1 เครื่องต่อ 1 ผู้ตอบ และ 1 เครื่องหลายผู้ตอบ และมีตัวเลือกเสริมสำหรับรูปแบบคาถามอีกด้วย

3.เมื่อทำการเริ่มจะมีรหัส (PIN) เป็นรหัสที่ใช้สาหรับให้ผู้ตอบใช้เพื่อเช้าร่วมการตอบคำถาม

4.ผู้ที่ต้องการตอบคำถามสามารถเข้าใช้งานผ่านทาง https://kahoot.it หรือ แอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนซึ่งจะมีช่อง  ที่ใช้สาหรับกรอกรหัสผ่าน และชื่อของผู้ตอบ
เมื่อเริ่มการถามคำถามผู้ตอบจะเห็นเพียงคำถามโดยคำตอบจะอยู่บนหน้าจอของผู้ถามเท่านั้น



________________________________________________________________________________

รายการอ้างอิง

นุชจรี สละริม. (2562).
        Game Based Learing ทางเลือกการเรียนรู้แบบ Plearn (play+learn).สืบค้นเมื่อ20กันยายน 2562.
        สืบค้นจาก  https://www.gotoknow.org/home?fbclid=IwAR3CBLP2KesWu1
        EuZRANsqKJJfrf1KWOokoocwf2UnhiFwp22AcBPxqrl3Q

ภาสกร ใหลสกุล. (2558).
        (Digital) Game-based learning เรียนๆ เล่นๆ สร้างความเป็นเลิศ (ตอนที่ 1).
        สืบค้นเมื่อวันที่ 23 กันยายน 2562, จาก https://tednet.wordpress.com/2015/09/01/digital-game-based-                    learning- เรียบๆ-เล่นๆ-สร้างคว/

สุพจน์ พ่วงกำเหนิด. (2560).
        Kahoot! : คู่มือการใช้งาน Kahoot!. สืบค้นเมื่อวันที่ 26 กันยายน 2562.
        สืบค้นจาก http://northbkklibrary.wordpress.com/2018/02/06/kahoot-คู่มือการใช้งานการใช้งาน-hoot



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น